บทที่7 การคำนวณทางคณิตศาสตร์

การคำนวณทางคณิตศาสตร์
ความสำคัญของเครื่องหมาย
ต่อไปนี้เป็นความสำคัญของเครื่องหมายทางคณิตศาสตร์เริ่มจากสูงสุดไปต่ำสุด
4 ต่อไปนี้เป็นความสำคัญของเครื่องหมายทางคณิตศาสตร์เริ่มจากสูงสุดไปต่ำสุด
X   วงเล็บ (  )                            
X   ยกกำลัง ^
X   คูณ หรือ หาร /  *
X   บวก หรือ ลบ + -                               
4 ถ้าเครื่องหมายเหมือนกันจะทำด้านซ้ายก่อน
4 โจทย์ให้คำนวณ 5 + 10 / 2
4 วิเคราะห์ :
X   มีเครื่องหมายคือ + และ /
X   หารมีความสำคัญสูงกว่า ดังนั้นทำหารก่อน ผลคือ
X   5  +  10  /  2 คำตอบคือ 10
ขั้นที่ 1. คำนวณ 10  /  2  =  5
ขั้นที่ 2. คำนวณ 5  +  5  =  10
    
4 คำนวณ ( 100 / 5 ) * 2 ^ 3 = ?
4 ทำในวงเล็บก่อน แล้ว ยกกำลัง ตามด้วยคูณ
X   ( 100 / 5) * 2 ^ 3
   ขั้นที่ 1. คำนวณ 100  /  5  =  20
                  ขั้นที่ 2. คำนวณ 2  ^  3  =  8
                  ขั้นที่ 3 คำนวณ 20 * 8 = 160
                   คำตอบคือ 160

แปลงสูตรให้เป็นการคำนวณ
4 การแปลงสูตรเป็นหน้าที่ของโปรแกรมเมอร์ ที่ต้องแปลงให้ถูกต้องตามลำดับการคำนวณ เพื่อให้ได้คำตอบที่ต้องการ
4 การคำนวณอาจต้องมีการเพิ่มเติมเครื่องหมายเพื่อจัดลำดับของการคำนวณใหม่
4 ตัวอย่าง ให้คำนวณหาโบนัส ซึ่งเท่ากับ 5 เท่าของเงินเดือน
X   โบนัส = เงินเดือน * 5
4 ตัวอย่าง ให้คำนวณหาราคาสินค้า 5000 บาทเมื่อรวมภาษีมูลค่าเพิ่ม 7 %
X   ราคาสุทธิ = ราคาสินค้า + ราคาสินค้า * 7 / 100
                                          = 5000 + 5000 * 7 / 100
                                              = 5350
4 คำนวณหาราให้คาสินค้าเมื่อลด 50%
4 ราคาสินค้า 50% = ราคาสินค้า * 50 / 100
4 ราคาสินค้า 200 บาท
X   ราคาสินค้า = 200 * 50 / 100 = 100
X   คำว่า % ในสูตรต่างๆ ต้องนำ % คูณกับแหล่งที่มาเสมอ เช่น
                   50% ของค่าใช้จ่าย = ค่าใช้จ่าย * 50 / 100
                   10% ของเงินเดือน = เงินเดือน * 10 / 100
Tips
4 การคำนวณยอดชำระสุทธิ
X   ยอดสุทธิ = ยอดชำระก่อนหักส่วนลด - ส่วนลด
4 โดยที่
X   ยอดชำระก่อนหักสวนลด = ราคา * จำนวน
X   ส่วนลด ยอดชำระก่อนหัก * ส่วนลด
4 รวม
X   ยอดสุทธิ = (ราคา * จำนวน) - ((ราคา * จำนวน) * ส่วนลด))

4 จงหายอดชำระเมื่อหักส่วนลด 30 % เมื่อซื้อสินค้า 5 ชิ้นราคาชิ้นละ 300 บาท
4 ยอดสุทธิ = (ราคา * จำนวน) - ((ราคา * จำนวน) * ส่วนลด)
4 ยอดสุทธิ = (300 * 5) - ((300 * 5) * 30 / 100)
                              = 1500 - 450
                                   = 1050 บาท
4 จงหายอดชำระเมื่อหักส่วนลด 30 % เมื่อซื้อสินค้า 5 ชิ้นราคาชิ้นละ 300 บาท
4 คิดใหม่จากสูตร
4 ยอดสุทธิ = (ราคา * จำนวน) * (100 - เปอร์เซ็นต์) / 100
4 ยอดสุทธิ = (ราคา * จำนวน) * 70 / 100
4 ยอดสุทธิ = (300 * 5 * 70 / 100)
                                   = 1050 บาท
                          เท่ากันหรือไม่
ตัวแปร : Variable
4 ตัวแปร คือ แหล่งเก็บข้อมูล ที่จะนำไปใช้ในการทำงานของโปรแกรม อันที่จริงอาจหมายถึงหน่วยความจำตำแหน่งหนึ่ง ที่ถูกกันไว้สำหรับเก็บข้อมูลชั่วคราว
4 ชนิดของตัวแปร
X   ตัวแปรตัวอักษร(String)
X   ตัวแปรตัวเลข(Number)
X   ตัวแปรตรรกะ(Boolean)
X   ตัวแปรอาเรย์(Array)
X   ตัวแปรตัวชี้(Pointer)
String
4 ตัวแปรในกลุ่มตัวอักษร อาจเป็นข้อความ สัญลักษณ์ หรือตัวเลขที่ไม่ใช้ในการคำนวน
X   Character ตัวแปรเก็บค่าตัวอักษรเพียงตัวเดียว
X   String ตัวแปรเก็บข้อความหรือตัวอักษรได้มากกว่า 1 ตัว
Number
4 ตัวแปรประเภทตัวเลข ซึ่งสามารถนำไปคำนวณได้
X   Integer เก็บค่าจำนวนเต็ม ไม่มีทศนิยม อาจแบ่งเป็น longinteger หรือ integer
X   Real เก็บค่าจำนวนที่ประกอบไปด้วยทศนิยม
4 ตัวแปรตัวเลขจะมีช่วงของการเก็บค่าของมันเอง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับตัวแปลภาษาจะเป็นตัวกำหนด เช่น integer มีค่าได้ตั้งแต่ -32767 ถึง 32767 ในภาษาปาสคาล
Boolean
4 เป็นข้อมูลชนิดตรรกะ มีค่าได้เพียง 2 แบบ คือจริง(True) และเท็จ(False) เท่านั้น
4 มักใช้ในการเปรียบเทียบ หรือทำงานแบบตรงข้ามกันเช่น on กับ off เป็นต้น
Array
4 เป็นกลุ่มของตัวแปรจำนวนมาก
4 ซึ่งทั้งชุดจะเก็บค่าเดียวกัน
4 เรียกใช้งานโดยระบุ index หรือลำดับที่ ว่าจะใช้ลำดับที่เท่าไร
4 อาจกำหนดให้อยู่ในรูป 1 , 2 หรือ 3 มิติได้
4 ตัวแปรชนิดนี้มักใช้หน่วยความจำค่อนข้างมาก
Pointer
4 เป็นตัวแปรประเภทตำแหน่งที่อยู่ของข้อมูล
4 ตัวแปรชนิดนี้มักถูกใช้งานในการเขียนโปรแกรมขั้นสูง
4 ผู้ใช้งานต้องมีความชำนาญ เนื่องจากเป็นการเข้าถึงหน่วยความจำโดยตรง หากผิดพลาดจะส่งผลกระทบอย่างรุนแรง
การกำหนดค่า
4 กำหนดให้ตัวแปร A,B,C เป็น integer
                กำหนดให้             A = 10   อ่านว่า นำ 10 เก็บที่ A
                                                B = 50   อ่านว่า นำ 50 เก็บที่ B
                                                C = A+B   อ่านว่า นำค่า A บวก B แล้ว
                                                                    เก็บไว้ที่ C


















ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น